หลังจากที่ฉบับที่แล้ว
ผมได้เขียนบทความเกี่ยวกับความเป็นมาแอนดรอยด์ โดยเริ่มพัฒนาเมื่อปี พ.ศ.2550
โดยบริษัท แอนดรอยด์ร่วมกับ Google จากนั้นเมื่อปี พ.ศ. 2550
ได้มีการร่วมมือกันกว่า 30 บริษัทชั้นนำเพื่อพัฒนาระบบ โดยใช้ชื่อกลุ่มว่า OHA
(Open Handset Alliance) โดยแบ่งออกเป็นเวอร์ชั่น
และมีชื่อเรียกแต่ละเวอร์ชั่นเป็นชื่อขนมหวาน โดยเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z
เรามาค่อยๆ ดูไปทีละเวอร์ชั่นของ
แอนดรอยด์ว่ามีวิวัฒนาการเป็นอย่างไร แล้วปัจจุบัน มันไปถึงเวอร์ชั่นอะไรแล้ว
แอนดรอยด์
เวอร์ชั่น 1.0
ในรุ่นนี้ยังไม่มีชื่อเล่น
(หากมีชื่อเล่น จะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A) ออกตัวเมื่อวันที่ 5
พฤศจิกายน พ.ศ.2550 ว่ากันว่า งั้นๆแหละ(ก็ใช่นะครับ ของเพิ่งพัฒนา)
แอนดรอยด์
เวอร์ชั่น 1.1
ในรุ่นนี้ยังไม่มีชื่อเล่น
(หากมีชื่อเล่นจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร B ออกตัวเมื่อวันที่ 9
กุมภาพันธ์ พ.ศ.2552 เป็นรุ่นที่พัฒนาแก้ไขบั๊ก (Bug) ของเวอร์ชั่นก่อนหน้าคือ
เวอร์ชั่น 1.0 โดยในรุ่นนี้ได้มีการนำไปใช้งาน โดยติดตั้งอยู่ใน HTC
Dream(G1)
รูปร่างหน้าตาของ HTC Dream(G1) ใช้ Android OS รุ่นแรก
แอนดรอยด์
เวอร์ชั่น 1.5
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า คัพเค้ก (Cupcake) เปิดตัวเมื่อวันที่
30 เมษายน พ.ศ.2552 เป็นรุ่นที่ถูกนำมาผลิตเพื่อการค้าอย่างเต็มรูปแบบและบริษัทที่นำมาใช้ในโทรศัพท์ของตนเองพร้อมขายทั่วโลกคือ Samsungโดยนำมาติดตั้งในเครื่อง Samsung i5700 Spica
มือถือรุ่น Samsung i5700 Spica ที่ได้ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 1.5
หรือ แอนดรอยด์ คัฟเค้ก (Cupcake) เป็นระบบปฏิบัติการ
แอนดรอยด์
เวอร์ชั่น 1.6
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า โดนัท (Donut) ออกตัวเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.2552 มีการปรับปรุงแก้ไขข้กบกพร่องของเวอร์ชั่น 1.5 มีโทรศัพท์หลายรุ่นที่ได้นำมาใช้ โดยแอนดรอยด์เวอร์ชั่นนี้สามารถจัดให้มีการอัพเกรดออนไลน์ (Over The Air : OTA)
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า โดนัท (Donut) ออกตัวเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.2552 มีการปรับปรุงแก้ไขข้กบกพร่องของเวอร์ชั่น 1.5 มีโทรศัพท์หลายรุ่นที่ได้นำมาใช้ โดยแอนดรอยด์เวอร์ชั่นนี้สามารถจัดให้มีการอัพเกรดออนไลน์ (Over The Air : OTA)
HTC
A3288 Tattoo Android Donut ที่ได้ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 1.6
แอนดรอยด์
เวอร์ชั่น 2.0
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า อีเคร์ (Eclair) แปลว่า ขนมหวานรูปยาวมีคริมข้างใน ออกตัวเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2552 โดยบริษัท Motorola ได้นำเวอร์ชั่นนี้ลงบนโทรศัพท์แบบสไลด์ ชื่อรุ่น Milestones ประเทศไทยได้นำมาวางขายผ่านเครือข่าย True
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า อีเคร์ (Eclair) แปลว่า ขนมหวานรูปยาวมีคริมข้างใน ออกตัวเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2552 โดยบริษัท Motorola ได้นำเวอร์ชั่นนี้ลงบนโทรศัพท์แบบสไลด์ ชื่อรุ่น Milestones ประเทศไทยได้นำมาวางขายผ่านเครือข่าย True
Motorola
Milestones ที่ได้ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 2.0
หรือ
แอนดรอยด์ อีเคร์ (Eclair) เป็นระบบปฏิบัติการ
แอนดรอยด์
เวอร์ชั่น 2.2
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า โฟรโย่ (Froyo) แปลว่าโยเกิร์ตแช่แข็ง (Froyo - Frozen yogurt) ออกตัวเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2553 โดยระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เวอร์ชั่นนี้ได้ถูกติดตั้งในโทรศัพท์รุ่น Google Nuxus One ซึ่งบริษัท Google มอบหมายให้ทางบริษัท HTC เป็นโรงงานผลิต
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า โฟรโย่ (Froyo) แปลว่าโยเกิร์ตแช่แข็ง (Froyo - Frozen yogurt) ออกตัวเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2553 โดยระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เวอร์ชั่นนี้ได้ถูกติดตั้งในโทรศัพท์รุ่น Google Nuxus One ซึ่งบริษัท Google มอบหมายให้ทางบริษัท HTC เป็นโรงงานผลิต
HTC Google Nexus One
แอนดรอยด์
เวอร์ชั่น 2.3
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า จิงเกอร์เบรด (Gingerbread) เจ้าขนมปังขิง ออกตัวเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2553 เป็นรุ่นที่ถือได้ว่ามีการนำมาใช้งานในโทรศัพท์มือถือมากที่สุดความสามารถที่เพิ่มเข้ามาในเวอร์ชั่นนี้จะพิเศษที่ระบบการสื่อสารแบบใหม่ชื่อเรียกว่า Near Field Communication (NFC) เป็นระบบการจ่ายเงินผ่านโทรศัพท์ได้ โดยที่โทรศัพท์ต้องมีอุปกรณ์ที่รองรับระบบ NFC ด้วย เวอร์ชั่นนี้ได้ถูกลงบนโทรศัพท์ของ Google เช่นเดิม เป็นรุ่นที่ 2 ต่อจาก HTC Nexus One แต่ครั้งนี้ Google ให้บริษัท Samsung เป็นผู้ผลิตให้ และใช้ชื่อว่า Google Nexus S
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า จิงเกอร์เบรด (Gingerbread) เจ้าขนมปังขิง ออกตัวเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2553 เป็นรุ่นที่ถือได้ว่ามีการนำมาใช้งานในโทรศัพท์มือถือมากที่สุดความสามารถที่เพิ่มเข้ามาในเวอร์ชั่นนี้จะพิเศษที่ระบบการสื่อสารแบบใหม่ชื่อเรียกว่า Near Field Communication (NFC) เป็นระบบการจ่ายเงินผ่านโทรศัพท์ได้ โดยที่โทรศัพท์ต้องมีอุปกรณ์ที่รองรับระบบ NFC ด้วย เวอร์ชั่นนี้ได้ถูกลงบนโทรศัพท์ของ Google เช่นเดิม เป็นรุ่นที่ 2 ต่อจาก HTC Nexus One แต่ครั้งนี้ Google ให้บริษัท Samsung เป็นผู้ผลิตให้ และใช้ชื่อว่า Google Nexus S
Google Nexus S
แอนดรอยด์
เวอร์ชั่น 3.0
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า ฮันนี่คอม (Honeycomb) รังผึ้ง ออกตัวเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554 ระบบปฏิบัติการเวอร์ชั่นนี้ถูกพัฒนาเพื่อใช้กับ Tablet โดยเฉพาะ ถูกติดตั้งในแท็บเล็ต Motorola ในรุ่น XOOM เป็นรุ่นแรก
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า ฮันนี่คอม (Honeycomb) รังผึ้ง ออกตัวเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554 ระบบปฏิบัติการเวอร์ชั่นนี้ถูกพัฒนาเพื่อใช้กับ Tablet โดยเฉพาะ ถูกติดตั้งในแท็บเล็ต Motorola ในรุ่น XOOM เป็นรุ่นแรก
Motorola ในรุ่น XOOM
แอนดรอยด์
เวอร์ชั่น 4.0
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า ไอศรีมแซนวิช (ICS : Ice Cream Sandwich) ออกตัวเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2554 เวอร์ชั่นนี้จะสามารถใช้งานได้ทั้งในโทรศัพท์ และแท็บเล็ต ทำให้บริษัทผู้ผลิตเตรียมอัพเกรดอุปรณ์ของตนเองเพื่อให้สามารถใช้งานเวอร์ชั่นนี้ได้ โทรศัพท์รุ่นที่รับการติดตั้งระบปฏิบัติการเวอร์ชัั่นนี้ได้แก่ Google Galaxy Nexus และแท็บเล็ตเครื่องแรกที่ได้รับการอัพเกรดเป็นเวอร์ชั่นนี้ได้แก่ Asus Transformer Prime span class='highlight red'>โดยแอนดรอยด์เวอร์ชันนี้ จะเป็นพระเอกสำหรับโครงการ OTPC ก็ว่าได้ เพราะเป็นระบบปฏิบัติการที่แท็บเล็ตในโครงการใช้งาน ทำไมต้องไอศรีมแซนวิช (ICS)
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า ไอศรีมแซนวิช (ICS : Ice Cream Sandwich) ออกตัวเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2554 เวอร์ชั่นนี้จะสามารถใช้งานได้ทั้งในโทรศัพท์ และแท็บเล็ต ทำให้บริษัทผู้ผลิตเตรียมอัพเกรดอุปรณ์ของตนเองเพื่อให้สามารถใช้งานเวอร์ชั่นนี้ได้ โทรศัพท์รุ่นที่รับการติดตั้งระบปฏิบัติการเวอร์ชัั่นนี้ได้แก่ Google Galaxy Nexus และแท็บเล็ตเครื่องแรกที่ได้รับการอัพเกรดเป็นเวอร์ชั่นนี้ได้แก่ Asus Transformer Prime span class='highlight red'>โดยแอนดรอยด์เวอร์ชันนี้ จะเป็นพระเอกสำหรับโครงการ OTPC ก็ว่าได้ เพราะเป็นระบบปฏิบัติการที่แท็บเล็ตในโครงการใช้งาน ทำไมต้องไอศรีมแซนวิช (ICS)
แอนดรอยด์
เวอร์ชั่น 4.1
ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า เจลลี่บีน (JB : Jelly Bean) เวอร์ชั่นนี้จะเน้นเพิ่มความสามารถทางด้านความเร็วเป็นหลัก
เพราะแอนดรอยด์ชอบโดนดูถูกเรื่องความ อืด ความช้า เมื่อเทียบกับ IOS ในเวอร์ชั่นนี้จึงเน้น ที่ความเร็วไหลลื่นให้ผู้ใช้ไม่มีสะดุด
ด้วยเทคโนโลยีที่มีชื่อว่า V-Sync adaptations และ triple
buffering จะนำคุณเข้าสู่ประสบการณ์การเรนเดอร์หน้าจอระดับ 60
เฟรมต่อวินาที (FPS) โดยมีผลิตภัณฑ์ ของ Google ก็คือ แท็บเล็ต Nexus 7 ที่ผลิตโดยโรงงานของ Asus
เป็นผลิตภัณฑ์ชิ้นแรกที่ได้นำ Jelly Bean เป็นระบบปฏิบัติการ
หลังจาก Google ได้เปิดจำหน่าย Nexus 7
ไปแล้ว ถึงได้ทำการเปิดโค้ด (Source Code) ให้กับผู้ผลิตแบรนด์อื่นๆ
ได้นำ Jelly Bean ไปใช้งาน ไปพัฒนาต่อไป
ส่วนใน เวอร์ชั่น 4.1.1 , 4.1.2 , 4.2.1 และ 4.2.2 จะนำมารีวิวให้ดูอีกทีนะจ๊ะ
ส่วนใน เวอร์ชั่น 4.1.1 , 4.1.2 , 4.2.1 และ 4.2.2 จะนำมารีวิวให้ดูอีกทีนะจ๊ะ